มาตราตัวสะกด คือ กลุ่มพยัญชนะที่ประกอบอยู่ท้ายคำหรือพยางค์ใน แม่ ก กา ทำให้เสียงของคำแตกต่างกันตามพยัญชนะที่นำมาประกอบ เช่น ตา เมื่อประสมกับ ล กลายเป็น ตาล, ชา เมื่อประสมกับ ม กลายเป็น ชาม เป็นต้น
มาตรา ก กา หรือ แม่ ก กา คือ คำหรือพยางค์ที่ไม่มีพยัญชนะเป็นตัวสะกด โดยอ่านออกเสียงเป็นสระ เช่น หู ตา ขา ลา กา ปลา เสือ โต๊ะ ตู้ ประตู ฯลฯ ทั้งนี้ แม่ ก กา เป็นหนึ่ง ในมาตราไทย แต่ไม่ถือว่าเป็นมาตราตัวสะกด เนื่องจากไม่มีพยัญชนะต่อท้าย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า มาตราตัวสะกด มี 8 มาตรา คือ กก กด กบ กม เกย เกอว กง กน
สำหรับการใช้มาตราตัวสะกด ทั้ง 8 มาตรา แบ่งได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้


















สำหรับข้อมูลมาตรตัวสะกดที่นำมาเสนอในครั้งนี้ น่าจะทำให้หลาย ๆ คน เข้าใจในหลักการสะกดคำมากขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ว่า แท้จริงแล้วหลักการใช้ภาษาไทยไม่ได้ยากอย่างที่คิด หากเราเข้าใจในพื้นฐานเบื้องต้นก็จะสามารถสร้างสรรค์คำใหม่ขึ้นมาได้อย่างง่ายดาย รวมถึงสามารถอ่านออกเสียงคำและข้อความต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนมากขึ้นด้วยค่ะ
ที่มา
- ราชบัณฑิต
- บ้านภาษาไทย ของ ม.เกษตร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น